งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์
อาจารย์ประจำหลักสูตรที่ควบคุมวิทยานิพนธ์ใน theme นี้ ได้แก่
รศ.ดร.ครรชิต จุดประสงค์: วิเคราะห์สารพิษในอาหาร วิเคราะห์ อาหารปลอม (Adulteration/ food fraud)
รศ.ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่: สารกำจัดศัตรูพืชตกค้าง (pesticide residues) ในผักผลไม้
รศ.ดร.ทพญ. ดุลยพร ตราชูธรรม: สารก่อมะเร็ง (carcinogens) ในอาหาร การรับสัมผัสอาหารหรือวัตถุเจือปนอาหารกับความเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง
รศ.ดร.วรางคณา ศรีจำนงค์: วิเคราะห์ phytotoxin ในพืช อะคริลาไมด์ในของทอด โพล่าร์คอมพาวด์ในน้ำมันทอด ยาปฏิชีวนะตกค้างในนม
ผศ.ดร.เวณิกา เบ็ญจพงศ์: โลหะหนักในข้าว ยาปฏิชีวนะตกค้างในเนื้อสัตว์ ไนเตรตไนไตรท์ในเนื้อสัตว์แปรรูป
ผศ.ดร.ปรัญรัชต์ ธนวิยุทธ์ภัคดี: สารให้ความหวาน (sweetener) ในเครื่องดื่มและขนม
ผศ.ดร.วรงค์ศิริ เข็มสวัสดิ์: การประเมินความเสี่ยงทางจุลินทรีย์ในอาหาร ความปลอดภัยของแมลงกินได้ (edible insect)
ผศ.ดร.จินตนา ศิริวราศัย: โลหะหนัก สารกำจัดศัตรูพืชตกค้าง และสารพิษในอาหาร ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic polymorphism) กับความเสี่ยงในการเกิดพิษ
อ.ดร.วีรยา การพานิช: ความปลอดภัยของวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) การปนเปื้อนของไมโครพลาสติก (microplastic) ในอาหาร
อาจารย์ประจำหลักสูตรที่ควบคุมวิทยานิพนธ์ใน theme นี้ ได้แก่
รศ.ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่: ทดสอบพิษต่อหน่วยพันธุกรรมด้วย Ames’ test และ Micronucleus Assay พิษต่อสัตว์ทดลอง และความปลอดภัยในมนุษย์
รศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม: ทดสอบพิษต่อเซลล์ พิษต่อสัตว์ทดลอง ความปลอดภัยและเภสัชจลนศาสตร์ในมนุษย์
รศ.ดร.ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์: ทดสอบพิษต่อเซลล์
ผศ.ดร.ปิยะ เต็มวิริยะนุกูล: ทดสอบพิษต่อหน่วยพันธุกรรมด้วย Ames’ test และแมลงหวี่ (Drosophila sp.) ทดสอบพิษต่อเซลล์
ผศ.ดร.มลฤดี สุขประสารทรัพย์: ทดสอบพิษต่อหน่วยพันธุกรรมด้วย Ames’ test และแมลงหวี่ (Drosophila sp.) ทดสอบพิษต่อเซลล์
ผศ.ดร.ยุราพร สหัสกุล: ทดสอบพิษต่อสัตว์ทดลอง
อาจารย์ประจำหลักสูตรที่ควบคุมวิทยานิพนธ์ด้านนี้ได้ ได้แก่
รศ.ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่: พืชสมุนไพรลดการก่อกลายพันธุ์และลดการก่อมะเร็ง เช่น มะรุมยับยั้งการก่อมะเร็งลำไส้ในสัตว์ทดลอง
รศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม: นวัตกรรมจากสารพฤกษเคมีในผักตระกูลกะหล่ำในการกำจัดสารก่อมะเร็งและยับยั้งการลุกลามของมะเร็งในมนุษย์ นวัตกรรมลดสารก่อมะเร็งจากเนื้อสัตว์ปิ้งย่าง การดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ วิธีประกอบอาหารเพื่อลดสารต้านฮอร์โมนไทรอยด์ และสารต้านโภชนาการ
รศ.ดร.ชลัท ศานติวรางคณา: การใช้โพรไบโอติกส์เพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพ
รศ.ดร.เชาวนี ชูพีรัชน์: นวัตกรรมอาหารลดความเสี่ยงต่อโรคเมตาบอลิก
รศ.ดร.วรางคณา ศรีจำนงค์: แนวทางประกอบอาหารหรือผลิตอาหารที่ลดการเกิดสารพิษหรือสารตกค้างในอาหาร
รศ.ดร.ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์: การทดสอบประสิทธิผลของสารสกัดหรือสารสำคัญจากอาหารในแบบจำลองเซลล์มนุษย์
รศ.ดร.เอกราช เกตุวัลย์: ผลเชิงสุขภาพของน้ำมันรำข้าว การทดสอบประสิทธิผลของสารสกัดหรือสารสำคัญจากอาหารในสัตว์ทดลอง
รศ.ดร.อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์: ฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชสมุนไพร ในการต้านอนุมูลอิสระ และยับยั้งเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคเบาหวาน ไขมันสูง อัลไซเมอร์ และพาร์คินสัน
ผศ.ดร.ณัฐิรา อ่อนน้อม: การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ
ผศ.ดร.ธัญญ์นลิน วิญญูประสิทธิ์: การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ และอาหารทางการแพทย์
ผศ.ดร.ปรัญรัชต์ ธนวิยุทธ์ภัคดี: ผลเชิงสุขภาพของมันเทศในการลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
ผศ.ดร.ปิยะ เต็มวิริยะนุกูล: ผลเชิงสุขภาพของพืชผัก สมุนไพรต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในแบบจำลองแมลงหวี่
ผศ.ดร.มลฤดี สุขประสารทรัพย์: ผลเชิงสุขภาพของผักผลไม้พื้นบ้านภาคเหนือต่อแบบจำลองเซลล์ประสาท
ผศ.ดร.ยุราพร สหัสกุล: ผลเชิงสุขภาพของอาหารหรือสารสกัดในสัตว์ทดลอง
อ.ดร.ชวัลพัชร เมืองน้อย: ผลเชิงสุขภาพของอาหารหรือสารสกัดในแบบจำลองเซลล์
อ.ดร.สุวภัทร กิตติบัญชากุล: การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากโพรไบโอติกส์และประโยชน์ต่อสุขภาพ
อ.ดร.ณชล แร่ทอง: แบบจำลองคอมพิวเตอร์ในการทำนายประโยชน์ของพรีไบโอติกส์ และโพรไบโอติกส์ต่อสุขภาพ
วิทยานิพนธ์ (Thesis)
สารนิพนธ์ (Thematic paper)